- Teacher: CHOTIMA PORNSAWANG
Search results: 6155
อุปสงค์และอุปทานแรงงานทั้งในระยะสั้นและระยะยาว การพัฒนาคุณภาพแรงงาน ตลาดแรงงานแบบต่างๆ โครงสร้างค่าจ้าง บทบาทของสหภาพแรงงาน บทบาทของรัฐในตลาดแรงงานทั้งในฐานะผู้จ้างและในฐานะผู้กำกับดูแล การคุ้มครองทางสังคมและสวัสดิการต่อแรงงาน การเลือกปฏิบัติในตลาดแรงงานและผลของโลกาภิวัตน์ต่อการจ้างงาน
- Teacher: WITTAWAT HEMTANON
อุปสงค์และอุปทานแรงงานทั้งในระยะสั้นและระยะยาว การพัฒนาคุณภาพแรงงาน ตลาดแรงงานแบบต่างๆ โครงสร้างค่าจ้าง บทบาทของสหภาพแรงงาน บทบาทของรัฐในตลาดแรงงานทั้งในฐานะผู้จ้างและในฐานะผู้กำกับดูแล การคุ้มครองทางสังคมและสวัสดิการต่อแรงงาน การเลือกปฏิบัติในตลาดแรงงานและผลของโลกาภิวัตน์ต่อการจ้างงาน
- Teacher: WITTAWAT HEMTANON
- Teacher: CHOTIMA PORNSAWANG
คำอธิบายรายวิชา
แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์และบทบาทของทรัพยากรมนุษย์ในการพัฒนาเศรษฐกิจ การลงทุนใน
ทรัพยากรมนุษย์ในรูปแบบการลงทุนในการศึกษา การฝึกอบรม การอพยพของแรงงาน และสุขภาพอนามัย การประยุกต์ ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาคกับงานด้านบุคลากร การพัฒนาพนักงาน การประเมินผลการปฏิบัติงาน การวิเคราะห์นโยบายและมาตรการของรัฐที่มีผลกระทบต่อการจ้างงาน และนโยบายการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
- Teacher: WITTAWAT HEMTANON
- Teacher: SOPIN JIRAKIATTIKUL
การพัฒนาแนวคิดของเศรษฐศาสตร์สถาบนั วิเคราะห์บทบาทของสถาบันทั้งในแง่ที่เป็นองค์กร และกฎของ การเล่นเกมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจและสังคม ต้นทุนทางธุรกรรมของสถาบันและการ เปลี่ยนแปลงของ สถาบัน การปฏิรูปนโยบายเศรษฐกิจของรัฐ การใช้ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก วิเคราะห์ปรากฏการณ์ทาง การเมือง โครงสร้างตลาดการเมือง พฤติกรรมทางการเมือง การแสวงหาส่วนเกินทางเศรษฐกิจผ่านกลไกของอำนาจรัฐ ผลกระทบของการรวมกลุ่มของกลุ่มผลประโยชน์ และองคก์รต่างๆ ในการผลักดันให้กิดการเปลี่ยนแปลงนโยบายเศรษฐกิจ
- Teacher: SOPIN JIRAKIATTIKUL
อุปสงค์และอุปทานแรงงานทั้งในระยะสั้นและระยะยาว การพัฒนาคุณภาพแรงงาน ตลาดแรงงานแบบต่างๆ โครงสร้างค่าจ้าง บทบาทของสหภาพแรงงาน บทบาทของรัฐในตลาดแรงงานทั้งในฐานะผู้จ้างและในฐานะผู้กำกับดูแล การคุ้มครองทางสังคมและสวัสดิการต่อแรงงาน การเลือกปฏิบัติในตลาดแรงงานและผลของโลกาภิวัตน์ต่อการจ้างงาน
- Teacher: WITTAWAT HEMTANON
แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์และบทบาทของทรัพยากรมนุษย์ในการพัฒนาเศรษฐกิจ การลงทุนในทรัพยากรมนุษย์ในรูปแบบการลงทุนในการศึกษา การฝึกอบรม การอพยพของแรงงาน และสุขภาพอนามัย การประยุกต์ ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาคกับงานด้านบุคลากร การพัฒนาพนักงาน การประเมินผลการปฏิบัติงาน การวิเคราะห์นโยบายและมาตรการของรัฐที่มีผลกระทบต่อการจ้างงาน และนโยบายการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
- Teacher: WITTAWAT HEMTANON
- Teacher: EVA AYARAGARNCHANAKUL
คำอธิบายรายวิชา
การทำวิจัยในประเด็นที่สนใจ การจัดทำรายงานและนำเสนอผลการวิจัยภายใต้การควบคุมของอาจารย์ที่ปรึกษา
วัตถุประสงค์รายวิชา
(1) เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกฝนการค้นคว้า การทำวิจัยจากประสบการณ์ตรง โดยการประยุกต์ใช้พื้นความรู้ทางทฤษฎี
เศรษฐศาสตร์อย่างเหมาะสมกับโจทย์วิจัย
(2) เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำเสนอผลการศึกษาในรูปของการเขียนรายงาน และการนำเสนอในการประชุมทาง
วิชาการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ลักษณะการเรียนการสอน
เน้นการให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองเป็นหลัก โดยนักศึกษาจะต้องศึกษาทฤษฎีและแนวคิดต่างๆตลอดจนการค้นคว้า รวบรวม ประมวล วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผลการศึกษาเพื่อจัดทำรายงานทางวิชาการ
- Teacher: SOPIN JIRAKIATTIKUL
วัตถุประสงค์รายวิชา
(1) เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกฝนการค้นคว้า การทำวิจัยจากประสบการณ์ตรง โดยการประยุกต์ใช้พื้นความรู้ทางทฤษฎีเศรษฐศาสตร์อย่างเหมาะสมกับโจทย์วิจัย
(2) เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำเสนอผลการศึกษาในรูปของการเขียนรายงาน และการนำเสนอในการประชุมทางวิชาการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- Teacher: EVA AYARAGARNCHANAKUL
คำอธิบายรายวิชา
แนวคิดพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์จุลภาค อุปสงค์และอุปทาน ความยืดหยุ่นและการประยุกต์ใช้ เศรษฐศาสตร์สาธารณะ ต้นทุนการผลิต และโครงสร้างตลาด แนวคิดพื้นฐานด้านเศรษฐศาสตร์มหภาค ตัวแปรทางเศรษฐศาสตร์มหภาค เศรษฐกิจในระยะยาว การเงินการธนาคาร นโยบายการคลังและการเงิน และเศรษฐกิจในระยะสั้น การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
- Teacher: WITTAWAT HEMTANON
เศรษฐศาสตร์มหภาคระดับกลาง ประเด็นการวัดตัวแปรประเด็นเศรษฐกิจมหภาคระยะสั้นและระยะยาวผลิตภาพ ผลผลิต และการจ้างงาน (ตลาดแรงงาน) การบริโภค การออม และการลงทุน (ตลาดสินค้า) การเงินและราคา (ตลาดสินทรัพย์) แบบจาลองเศรษฐกิจมหภาคและตัวทวีคูณ การเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะสั้นและระยะยาว แบบจำลอง IS-LM แบบจำลองอุปสงค์รวม-อุปทานรวม ผลกระทบนโยบายเศรษฐกิจ มหภาคต่อระบบเศรษฐกิจโดยรวมและโดยเฉพาะภาคเกษตร ระบบเศรษฐกิจเปิดโดยเน้นเศรษฐกิจสมัยใหม่ (การไหลของสินค้า ทุน แรงงาน และความรู้) การค้าระหว่างประเทศ การกำหนดอัตราแลกเปลี่ยน สาธิตการใช้ทฤษฎีเชิงประจักษ์
- Teacher: CHAIYA KONGMANEE
- Teacher: CHAIYA KONGMANEE
- Teacher: ONANONG LONGPICHAI
- Teacher: PARATTA PROMMEE
- Teacher: SUTONYA THONGRAK
877 -111 Economic Crop
พืชเศรษฐกิจ
สำหรับนักศึกษา ชั้นปีที่ 1 สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจเกษตรและการจัดการ คณะเศรษฐศาสตร์
คำอธิบายรายวิชา
ความสำคัญของพืชเศรษฐกิจ พืชเศรษฐกิจที่สำคัญ การผลิต สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคา
อาจารย์ผู้จัดการวิชา
ผศ. ดร. ปรัตถ พรหมมี
- Teacher: TASSANEE KHAWNIAM
- Teacher: SIRIRAT KIATPATHOMCHAI
- Teacher: CHAIYA KONGMANEE
- Teacher: ONANONG LONGPICHAI
- Teacher: PARATTA PROMMEE
- Teacher: SUTONYA THONGRAK
- Teacher: PARATTA PROMMEE
- Teacher: SUTONYA THONGRAK
- Teacher: PORNPIMON CHUADUANGPUI
- Teacher: SIRIRAT KIATPATHOMCHAI
- Teacher: ARISARA ROMYEN NERANON
- Teacher: SUPANON TUNIM